วิธีรักษา และ ป้องกัน โรคง่วงนอนมากผิดปกติ

วิธีรักษา และ ป้องกัน โรคง่วงนอนมากผิดปกติ


โรคง่วงนอนมากผิดปกติ เป็นอาการที่คนส่วนใหญ่ กำลังประสบปัญหานี้กันอยู่ เป็นจำนวนมาก ทั้งลองพยายามหาสาเหตุ และ วิธีการแก้ไขแล้ว ก็ยังไม่หายสักที มาดูกันดีกว่าค่ะ ว่าจะมี วิธีรักษา และ ป้องกัน อย่างไรบ้าง

 

การนอน เป็นการพักผ่อนร่างกาย และ จิตใจที่ดี ไม่ว่าในแต่ละวัน เราพบเจอกับเหตุการณ์อะไร ที่หนักหน่วงมาก็ตาม การนอน จะช่วยเยียวยาทุกอย่างให้ดีขึ้น แต่การนอนหลับยาว ๆ แบบข้ามวันข้ามคืน แทนที่จะช่วยทำให้ร่างกายสดชื่น แต่อาจส่งผลเสียต่อร่างกาย หรือ ร่างกายกำลังส่งสัญญาณ โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) ก็เป็นได้

 

โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) คือ ?

โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) เป็นโรคที่ทำให้รู้สึกง่วงนอนมาก ทั้งช่วงเวลากลางวัน และ กลางคืน มีอาการนอนหลับเกินพอดี ขี้เซา นอนมากเท่าไหร่ ก็ยังไม่เพียงพอ งีบหลับระหว่างวันหลายครั้ง แม้แต่ในเวลาที่รับประทานอาหาร พูดคุยกับผู้อื่น ๆ ก็สามารถนอนหลับได้ หากได้นอนแล้ว อาจตื่นยากกว่าปกติ มีระยะเวลาในการนอนมากกว่า 8 ชั่วโมง และ มีอาการอ่อนเพลีย อยากกลับไปนอนอีก

 

ผลเสียของ โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia )

โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) ส่งผลเสีย ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้ความจำแย่ลง หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล และ ยังมีผลเสียอื่น ๆ เช่น

  • ทำร้ายสมอง เพราะการนอนมากเกินไป ทำให้สมองเฉื่อยชา คิด หรือ ทำอะไรเชื่องช้า ไร้ชีวิตชีวา มึนงงตลอดเวลา ขยับร่างกายน้อยลง ส่งผลให้กระดูก กล้ามเนื้อ และ ข้อต่อ ประสิทธิภาพลดลง
  • ซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน ชีวิตไม่ค่อยมีความสุข เพราะฮอร์โมนด้านความสุข เช่น เซโรโทนิน ( Serotonin ) และ เอ็นดอร์ฟิน ( Endorphin ) ที่สัมพันธ์กับการนอนลดลง
  • อ้วนง่าย เพราะร่างกายไม่ค่อยได้เคลื่อนไหว ส่งผลต่อการเผาผลาญของร่างกาย อาจทำให้โรคอื่น ๆ ตามมาได้ เช่น  โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน
  • มีบุตรยาก เพราะฮอร์โมนเพศหญิงจะเป็นปกติ เมื่อมีการนอนหลับพักผ่อนที่เพียงพอ
  • เสี่ยงต่อการ หยุดหายใจเฉียบพลัน หรือ ไหลตาย เพราะเนื้อสมองตาย เนื่องจากการดับไปของสัญญาณสมอง ที่นานเกินกว่าเวลานอนปกติ ของคนทั่วไป
  • อายุสั้น มีผลวิจัยในปี 2010 ออกมาว่า ผู้ที่นอนนานเกิน 9 ชั่วโมงต่อวัน จะมีโอกาสเสียชีวิต เร็วกว่าผู้ที่นอน 7 - 8 ชั่วโมง ต่อวัน เพราะร่างกายไม่ได้ขยับ ไม่ได้เพิ่มออกซิเจน ให้อวัยวะภายใน

โรคง่วงนอนมากผิดปกติ เป็นอาการที่คนส่วนใหญ่ กำลังประสบปัญหานี้กันอยู่ เป็นจำนวนมาก ทั้งลองพยายามหาสาเหตุ และ วิธีการแก้ไขแล้ว ก็ยังไม่หายสักที มาดูกันดีกว่าค่ะ ว่าจะมี วิธีรักษา และ ป้องกัน อย่างไรบ้าง

 

การนอน เป็นการพักผ่อนร่างกาย และ จิตใจที่ดี ไม่ว่าในแต่ละวัน เราพบเจอกับเหตุการณ์อะไร ที่หนักหน่วงมาก็ตาม การนอน จะช่วยเยียวยาทุกอย่างให้ดีขึ้น แต่การนอนหลับยาว ๆ แบบข้ามวันข้ามคืน แทนที่จะช่วยทำให้ร่างกายสดชื่น แต่อาจส่งผลเสียต่อร่างกาย หรือ ร่างกายกำลังส่งสัญญาณ โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) ก็เป็นได้

 

 

โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) คือ ?

โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) เป็นโรคที่ทำให้รู้สึกง่วงนอนมาก ทั้งช่วงเวลากลางวัน และ กลางคืน มีอาการนอนหลับเกินพอดี ขี้เซา นอนมากเท่าไหร่ ก็ยังไม่เพียงพอ งีบหลับระหว่างวันหลายครั้ง แม้แต่ในเวลาที่รับประทานอาหาร พูดคุยกับผู้อื่น ๆ ก็สามารถนอนหลับได้ หากได้นอนแล้ว อาจตื่นยากกว่าปกติ มีระยะเวลาในการนอนมากกว่า 8 ชั่วโมง และ มีอาการอ่อนเพลีย อยากกลับไปนอนอีก

 

 

ผลเสียของ โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia )

โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) ส่งผลเสีย ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน ทำให้ความจำแย่ลง หงุดหงิดง่าย วิตกกังวล และ ยังมีผลเสียอื่น ๆ เช่น

  • ทำร้ายสมอง เพราะการนอนมากเกินไป ทำให้สมองเฉื่อยชา คิด หรือ ทำอะไรเชื่องช้า ไร้ชีวิตชีวา มึนงงตลอดเวลา ขยับร่างกายน้อยลง ส่งผลให้กระดูก กล้ามเนื้อ และ ข้อต่อ ประสิทธิภาพลดลง
  • ซึมเศร้า อารมณ์แปรปรวน ชีวิตไม่ค่อยมีความสุข เพราะฮอร์โมนด้านความสุข เช่น เซโรโทนิน ( Serotonin ) และ เอ็นดอร์ฟิน ( Endorphin ) ที่สัมพันธ์กับการนอนลดลง
  • อ้วนง่าย เพราะร่างกายไม่ค่อยได้เคลื่อนไหว ส่งผลต่อการเผาผลาญของร่างกาย อาจทำให้โรคอื่น ๆ ตามมาได้ เช่น  โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน
  • มีบุตรยาก เพราะฮอร์โมนเพศหญิงจะเป็นปกติ เมื่อมีการนอนหลับพักผ่อนที่เพียงพอ
  • เสี่ยงต่อการ หยุดหายใจเฉียบพลัน หรือ ไหลตาย เพราะเนื้อสมองตาย เนื่องจากการดับไปของสัญญาณสมอง ที่นานเกินกว่าเวลานอนปกติ ของคนทั่วไป
  • อายุสั้น มีผลวิจัยในปี 2010 ออกมาว่า ผู้ที่นอนนานเกิน 9 ชั่วโมงต่อวัน จะมีโอกาสเสียชีวิต เร็วกว่าผู้ที่นอน 7 - 8 ชั่วโมง ต่อวัน เพราะร่างกายไม่ได้ขยับ ไม่ได้เพิ่มออกซิเจน ให้อวัยวะภายใน

 

วิธีแก้ปัญหา โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) ในเบื้องต้นสามารถทำได้อย่างไรบ้าง ?

  • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการนอนหลับ
  • ออกกำลังกาย
  • เลือกทานอาหาร และ เครื่องดื่ม ที่ดีต่อสุขภาพ
  • ลดความเครียด และ ความกังวลลงบ้าง
  • ปรึกษา และ รักษา ด้วยวิธีการทางการแพทย์

 

วิธีป้องกัน โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia )

  1. เข้านอนตรงเวลาทุกวัน กำหนดเวลาเข้านอน และ ตื่นนอนเวลาเดิม ติดต่อกัน นอนหลับพักผ่อน 7 - 8 ชั่วโมงต่อวัน ไม่ควรมากหรือน้อยเกินไป หากตื่นแล้วให้ลุกจากเตียง ไม่ต่อเวลาในการนอนออกไปอีก
  2. ใช้ยานอนหลับ เท่าที่จำเป็น หรือ ตามแพทย์สั่ง หากนอนไม่หลับ ควรปรับวิธีการนอนด้วยตัวเอง เพราะการรับประทานยาเป็นประจำ อาจทำให้ดื้อยา หรือ ส่งผลเสียต่อตับ และ ระบบประสาทได้
  3. หลีกเลี่ยง การนอนตอนกลางวัน หรือ หากงีบกลางวันไม่ควรเกิน 1 ชั่วโมง เพราะจะทำให้นอนไม่หลับในเวลากลางคืน และ จบลงด้วยการนอนนานมากขึ้นกว่าเดิม
  4. อาบน้ำก่อนนอน เพื่อให้ร่างกายสะอาด สบายเนื้อสบายตัว
  5. รองท้องก่อนนอน เช่น ดื่มนมอุ่น ๆ ช่วยให้อิ่มท้อง หลับสบาย ตื่นขึ้นมาก็จะรู้สึกสดชื่น
  6. หากิจกรรมก่อนนอน เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลงเบา ๆ เพื่อช่วยให้ร่างกายปรับตัว และ ผ่อนคลาย
  7. รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ งดเครื่องดื่มชา กาแฟ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง แป้ง น้ำตาล

วิธีแก้ปัญหา โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia ) ในเบื้องต้นสามารถทำได้อย่างไรบ้าง ?

  • ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในการนอนหลับ
  • ออกกำลังกาย
  • เลือกทานอาหาร และ เครื่องดื่ม ที่ดีต่อสุขภาพ
  • ลดความเครียด และ ความกังวลลงบ้าง
  • ปรึกษา และ รักษา ด้วยวิธีการทางการแพทย์

 

วิธีป้องกัน โรคง่วงนอนมากผิดปกติ ( Hypersomnia )

  1. เข้านอนตรงเวลาทุกวัน กำหนดเวลาเข้านอน และ ตื่นนอนเวลาเดิม ติดต่อกัน นอนหลับพักผ่อน 7 - 8 ชั่วโมงต่อวัน ไม่ควรมากหรือน้อยเกินไป หากตื่นแล้วให้ลุกจากเตียง ไม่ต่อเวลาในการนอนออกไปอีก
  2. ใช้ยานอนหลับ เท่าที่จำเป็น หรือ ตามแพทย์สั่ง หากนอนไม่หลับ ควรปรับวิธีการนอนด้วยตัวเอง เพราะการรับประทานยาเป็นประจำ อาจทำให้ดื้อยา หรือ ส่งผลเสียต่อตับ และ ระบบประสาทได้
  3. หลีกเลี่ยง การนอนตอนกลางวัน หรือ หากงีบกลางวันไม่ควรเกิน 1 ชั่วโมง เพราะจะทำให้นอนไม่หลับในเวลากลางคืน และ จบลงด้วยการนอนนานมากขึ้นกว่าเดิม
  4. อาบน้ำก่อนนอน เพื่อให้ร่างกายสะอาด สบายเนื้อสบายตัว
  5. รองท้องก่อนนอน เช่น ดื่มนมอุ่น ๆ ช่วยให้อิ่มท้อง หลับสบาย ตื่นขึ้นมาก็จะรู้สึกสดชื่น
  6. หากิจกรรมก่อนนอน เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลงเบา ๆ เพื่อช่วยให้ร่างกายปรับตัว และ ผ่อนคลาย
  7. รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ งดเครื่องดื่มชา กาแฟ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง แป้ง น้ำตาล

 

 

อ่านบทความเพิ่มเติม

กระเทียมดำ ( Black Garlic ) หลากสรรพคุณที่ไม่ควรพลาด

ฟ้าทะลายโจร สมุนไพรพื้นบ้าน แต่มากสรรพคุณ


ผงกล้วยน้ำว้าดิบ รักษากรดไหลย้อนได้จริงหรือไม่

ผงกล้วยน้ำว้าดิบ รักษา กรดไหลย้อน ได้จริงหรือไม่

วิธีบำรุงผม เปลี่ยนผมเสียเป็นผมสวย

วิธี บำรุงผม เปลี่ยน ผมเสีย เป็น ผมสวย